ไทย – สาธารณรัฐฝรั่งเศส
1.1 นายกรัฐมนตรีไทยเยือนฝรั่งเศสอย่างเป็นทางการครั้งแรกระหว่างวันที่ 12-13 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 และครั้งที่ อ่านต่อ
วันพุธที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2558
การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและป้องกันผลประโยชน์ของตน หรือระงับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการแข่งขัน อ่านต่อ
สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันฟื้นสิทธิต่าง ๆ ที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 รับรองโดยชัดแจ้ง ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวได้สรุปสิทธิต่าง ๆ เป็นเสรีภาพในการพูด เสรีภาพสื่อ การชุมนุมโดยสงบ สมาคม ศาสนาและขบวนการภายในประเทศและต่างประเทศ อ่านต่อ
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน (Human Right) หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง อ่านต่อ
ข้อตกลงระหว่างประเทศ
การหารืออย่างเป็นทางการระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของไทยเเละอิสราเอล
กรุงเยรููซาเลม ๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๕ การหารืออย่างเป็นทางการครั้งเเรกระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของไทยเเละอิสราเอลถูกจัดขึ้น ณ กรุงเยรูซาเลม เืมื่อวันที่ ๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๕ อ่านต่อ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว
1. การหมั้น การหมั้นจะสมบูรณ์ต่อเมื่อฝ่ายชายได้ส่งมอบหรือโอนทรัพย์สินอันเป็นของหมั้นให้แก่หญิงเพื่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรสกับผู้หญิง การหมั้นจะทำได้ต่อเมื่อชายและหญิงมีอายุ 17 บริบูรณ์แล้ว
ผู้เยาว์จะทำการหมั้นได้ต้องได้รับความยินยอมของบิดาและมารดา ผู้รับบุตรบุญธรรมหรือผู้ปกครองแล้วแต่กรณี อ่านต่อ
ผู้เยาว์จะทำการหมั้นได้ต้องได้รับความยินยอมของบิดาและมารดา ผู้รับบุตรบุญธรรมหรือผู้ปกครองแล้วแต่กรณี อ่านต่อ
สถานการและปัญหาการเมือง
ความขัดแย้ง(Conflict) เป็นปรากฏการณ์หนึ่งในสังคมที่เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา เพราะตราบใดที่มนุษย์เรายังอยู่ร่วมกัน มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันและต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ที่ผ่านมาการชุมนุมเรียกร้องในประเทศไทยจะเกี่ยวข้องอยู่ 5 เรื่องใหญ่ ๆ คือ อ่านต่อ
การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
1 การเรียกคืนอำนาจโดยการถอดถอน/ปลดออกจากตำแหน่ง (recall) เป็นการควบคุมการใช้อำนาจของผู้แทนของประชาชนในการดำรงตำแหน่งทางการเมืองแทนประชาชน หากปรากฏว่า ผู้แทนของประชาชนใช้อำนาจในฐานะ “ตัวแทน” อ่านต่อ
คุณลักษณะของพลเมืองดี
คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า มีดังนี้ อ่านต่อ
การเปลียนแปลงและการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์วัฒธรรมไทยนั้น ต้องอาศัยความร่วมมือกันของคนไทยทุกคนมีวิธีการ ดังนี้ อ่านต่อ
ปัญหาทางสังคม
สังคมไทยปัจจุบัน เป็นสังคมที่เห็นคุณค่าทางวัตถุมากกว่าคุณค่าทางจิตใจ ยิ่งพัฒนาไปเท่าใด จะยิ่งเกิดปัญหาจากการพัฒนาเท่านั้น ยิ่งมีวัตถุสนองความต้องการมากเท่าใดยิ่งไม่รู้จักอิ่ม อ่านต่อ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ความหมายของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมราชบัณฑิตยสถาน (2524 : 337) อธิบายว่า การเปลี่ยนแปลงทางสังคม หมายถึง การที่ระบบสังคม กระบวนการ แบบอย่างหรือรูปแบบทางสังคม เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี ระบบครอบครัว อ่านต่อ
การจัดระเบียบสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กระบวนการทางสังคมที่จัดขึ้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน อ่านต่อ
โครงสร้างทางสังคม
โครงสร้างของ สังคม หมายถึง ส่วนประกอบต่างๆของสังคม แต่ละส่วนจะมีความสัมพันธ์กัน และมีหน้าที่ ที่จะต้องปฏิบัติต่อกัน ในฐานะเป็นสมาชิกของสังคม โครงสร้างสังคมไทย ประกอบด้วยความสำคัญ 2 ประการ คือ อ่านต่อ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)